Page 32 - MU_8Aug66
P. 32

32                                           มหิดลสาร ๒๕๖๖                                  August 2023




              ม.มหิิดล-Tufts University วิิจิัยพบก�ริเข้�ถึงโปัริตีนึ


                             จากสััตว์กรื่ะทบโภช่นาการื่เด็กทั�วโลก




                                                                                   สัมภาษณ์์ และเขียนข่าวโดย ฐิติรัตน์ เดชีพรห็ม
                                                                                                  ภาพจากัผู้ให็้สัมภาษณ์์


            เน้�อ นม ไข่ ฯลฯ ล้วนเปั็นแห็ล่งโปัรตีนจากัสัตว์ทีี�สำาคัญ ซึ�ง
        เด็กัในแต่ละพ้�นทีี�ทีั�วโลกัมีกัารเข้าถึงแห็ล่งโปัรตีนจากัสัตว์ทีี�
        แตกัต่างกััน  ส่งผลต่อภาวะโภชีนากัารทีี�แตกัต่างกัันไปัด้วย
                  รื่องศิาสิ่ตรื่าจารื่ย์  ดรื่.นพวรื่รื่ณ  เปียซึ่่�อ  รองคณ์บดี
        ฝึ่ายส่งเสริมสุขภาพ คณ์ะแพทียศึาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
        มห็าวิทียาลัยมห็ิดล ได้ร่วมกัับ Tufts University สห็รัฐอเมริกัา
        เม้�อปัี พ.ศึ. ๒๕๓๓ – ๒๕๖๑ ศึึกัษาวิจัยเด็กัใน ๑๘๕ ปัระเทีศึ
        ครอบคลุมร้อยละ  ๙๓  ของจำานวนเด็กัทีั�วโลกั  เกัี�ยวกัับ
        “การื่เข้าถึึงแหล�งโปรื่ต่นจากสิ่ัตว์”  ซึ�งส่งผลอย่างยิ�งต่อ
        พัฒนากัารและกัารเจริญเติบโตของเด็กั พบเฉล่�ย  ๑.๙  หน�วย
                                                                             รื่องศาสัตรื่าจารื่ย์ ดรื่.นพื่วรื่รื่ณ เปียซ่�อ
        บรื่่โภค  (๑๗๐  กรื่ัม)  หรื่่อปรื่ะมาณ  ๑๒  ช้อนโต๊ะต�อวันใน
                                                                     รองคณ์บดีฝึ่ายส่งเสริมสุขภาพ คณ์ะแพทียศึาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
        เด็กทั�วโลก  โดยเด็กในปรื่ะเทศิท่�ม่รื่ายได้น้อย  เข้าถึึงแหล�ง             มห็าวิทียาลัยมห็ิดล
        โปรื่ต่นจากสิ่ัตว์ได้น้อยกว�าเด็กในปรื่ะเทศิท่�ม่รื่ายได้สิ่่ง

                                                                  ทีีมวิจัยคาดห็วังให็้เกั้อบ ๓ ทีศึวรรษทีี�ผ่านมาจากักัารทีุ่มเที
                                                               ศึึกัษาติดตามกัารเข้าถึงแห็ล่งโปัรตีนจากัสัตว์ในเด็กัทีั�วโลกั
                                                               ซึ�งต่อมาได้รับกัารตีพิมพ์ในวารสารวิชีากัารระดับ  Top1%
                                                               ของโลกั  “Nature  Food”  ได้มีกัารขยายผลสู่กัารกัำาห็นด
                                                               นโยบายเพ้�อแกั้วิกัฤติทีี�แตกัต่างกัันไปัในแต่ละพ้�นทีี�ทีั�วโลกั
                                                                     โดยได้มองไปัถึงกัารเสริมด้วย  “โปรื่ต่นทางเล่อก”  ซึ�ง
                                                               ได้แกั่  แห็ล่งโปัรตีนจากัพ้ชี  ห็ร้อ  “Plant  Based  Protein”
                                                               ในพ้�นทีี�โลกัทีี�ขาดแคลน  พร้อมเรียกัร้องให็้ทีั�วโลกัห็ันมาบ
                                                               ริโภคโปัรตีนจากัสัตว์โดยคำานึงถึง  “สิุ่ขภาพสิ่่�งแวดล้อม”
                                                               เพ้�อรักัษา  “ความสิ่มดุล”  ให็้กัับโลกั  และมุ่งสู่กัารบรรลุเปั้า
                                                               ห็มายเพ้�อกัารพัฒนาอย่างยั�งย้นแห็่งสห็ปัระชีาชีาติต่อไปั



                ในสิ่�วนของปรื่ะเทศิไทย  พบ  “เด็กไทยในเม่อง”  เข้า
        ถึึงแหล�งโปรื่ต่นจากสิ่ัตว์ได้มากกว�า  “เด็กไทยในชนบท”
        ซึ่ึ�งหมายถึึงโอกาสิ่ในการื่เก่ดโรื่คในกลุ�ม  NCDs  เพ่�มมาก
        ขึ�นตามไปด้วยจาก  “ภาวะทุพโภชนาการื่”  ท่�ไม�ได้ม่ความ
        หมายเฉพาะ  “การื่ขาดสิ่ารื่อาหารื่”  แต�รื่วมถึึงการื่ม่  “ภาวะ
        โภชนาการื่เก่น”  อ่กด้วย  ท่�น�าเป็นห�วง  ค่อ  พบเด็กไทยอ้วน
        เพ่�มขึ�นตามอัตรื่าซึ่ึ�งสิ่อดคล้องกับอุบัต่การื่ณ์เด็กอ้วนทั�วโลก

















   Internationalization
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37